บันทึกอนุทิน
ความรู้ที่ได้รับ
1.ทฤษฎีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3.ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
2.จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3.ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4.หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
-เพื่อให้เด็กสามารถเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ
-ให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
-เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
-เพื่อให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบ
ทักษะพื้นฐาน
1.การสังเกต (Observation)
-การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน
-การใช้ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
2.จำแนกประเภท(Classifying)
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยสร้างเกณฑ์ในการแบ่ง
-เกณฑ์ในการจำแนกคือ ความเหมือน แตกต่าง หาความสัมพันธ์
3.การเปรียบเทียบ(Comparing)
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป
-เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆ
4.การจัดลำดับ(Ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
-เป็นการจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5.การวัด(Measurement)
-มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
6.การนับ(Counting)
-เด็กชอบนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
7.รูปทรงและขนาด(Sharp and Size)
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาด ก่อนจะเข้าโรงเรียน
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
1.การนับ
2.ตัวเลข
3.การจับคู่
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.รูปร่างและพื้นที่
7.การวัด
8.การจัดลำดับ
หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
-ให้เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงจากของจริง
-การสอนให้สอดคล้องกับใช้ชีวิตประจำวัน
-เปิดโอกาศให้ค้นพบด้วยตัวเอง
วิธีการสอน
-เพื่อให้เด็กสามารถเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น รู้จักคำศัพท์
-เพื่อพัฒนามโนภาพเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ
-ให้เด็กรู้จักและใช้กระบวนการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
-เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจ
-เพื่อให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบ
ทักษะพื้นฐาน
1.การสังเกต (Observation)
-การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมกัน
-การใช้ปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
2.จำแนกประเภท(Classifying)
-การแบ่งประเภทสิ่งของโดยสร้างเกณฑ์ในการแบ่ง
-เกณฑ์ในการจำแนกคือ ความเหมือน แตกต่าง หาความสัมพันธ์
3.การเปรียบเทียบ(Comparing)
-เด็กต้องอาศัยความสัมพันธ์ของวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์ตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป
-เด็กจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นๆ
4.การจัดลำดับ(Ordering)
-เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
-เป็นการจัดลำดับวัตถุสิ่งของหรือเหตุการณ์
5.การวัด(Measurement)
-มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการอนุรักษ์
-การวัดสำหรับเด็กปฐมวัย ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก ปริมาณ
-เด็กชอบนับแบบท่องจำโดยไม่เข้าใจความหมาย
-การนับแบบท่องจำนี้จะมีความหมายต่อเมื่อเชื่อมโยงกับจุดประสงค์บางอย่าง
7.รูปทรงและขนาด(Sharp and Size)
-เด็กส่วนใหญ่จะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาด ก่อนจะเข้าโรงเรียน
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
1.การนับ
2.ตัวเลข
3.การจับคู่
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.รูปร่างและพื้นที่
7.การวัด
8.การจัดลำดับ
หลักการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
-ให้เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงจากของจริง
-การสอนให้สอดคล้องกับใช้ชีวิตประจำวัน
-เปิดโอกาศให้ค้นพบด้วยตัวเอง
เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า
อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว
หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ
ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นล่า หลั่น ลันลา หลั่นลา หลั่นล้า
วิธีการสอน
-มีแบบฝึกหัดให้ทำก่อนเรียน
-การอภิปรายถาม ตอบ
-ใช้เทคโนโลยีมาเป็นสื่อในการสอน
การประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการอย่างตรงจุดและรอบด้าน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น